บทความ

เคเบิ้ลแกลนสแตนเลส

รูปภาพ
สแตนเลส เป็นโลหะที่หลายๆ คนรู้จักกันโดยขึ้นชื่อว่าเป็นโลหะที่ไม่เป็นสนิม มีความทนทานสวยงามซึ่งในปัจจุบันก็นำไปใช้ในหลากหลายอุตสาหกรรม รวมถึง เคเบิ้ลแกลน อีกด้วย เคเบิ้ลแกลนสแตนเลส (Stainless Steel Cablegland) หลายๆ คนคงจะรู้ไปแล้วว่า เคเบิ้ลแกลน นั้นเป็นชิ้นส่วนไว้ใช้ทำอะไร หากยังไม่รู้สามารถอ่านได้จากที่นี่ >> เคเบิ้ลแกลนคืออะไร ?   << โดยเคเบิ้ลแกลนสแตนเลสชนิดนี้โดยส่วนใหญ่จะผลิตจากสแตนเลสเกรด 304 ซึ่งเป็นเกรดที่เป็นที่นิยม เพราะสแตนเลส 304 มีความทนทาน และไม่เป็นสนิม จึงมีอายุการใช้งานที่ยาวนานเป็นอย่างมาก คุณสมบัติที่สำคัญสำหรับเลือกซื้อ เคเบิ้ลแกลนสแตนเลส ผลิตจากสแตนเลสแท้  (304 / 316) เมื่อบิดเกลียวจนสุดแล้วสามารถยึดสายได้แน่นกระชับ มั่นคง ไม่ขยับเขยื้อน สามารถทนต่อน้ำทะเล กรดอ่อน แอลกอฮอล์ น้ำมัน ป้องกันการผุกร่อนและไม่เป็นสนิม แข็งแรงทนทาน สามารถติดตั้งได้ง่าย มีความทนทานต่ออุณหภูมิ ใช้งานได้ทั้งภายในและภายนอกอาคาร มีความสามารถกันน้ำได้ตามมาตรฐาน IP ได้รับมาตรฐานสากล เช่น CE, RoHS อยากรู้เรื่องเคเบิ้ลแกลนสแตนเลสเพิ่มอ่านต่อได้ที่ : cableglan

มาตราฐาน RoHS คืออะไร

รูปภาพ
มาตรฐาน ROHS คืออะไร ? RoHS  ย่อมาจาก Restriction of Hazardous Substances เป็นข้อกำหนดที่ 2002/95/EC ของสหภาพยุโรป (EU) ซึ่งเป็นมาตรฐานเพื่อสิ่งแวดล้อม ว่าด้วยเรื่องของการใช้สารที่เป็นอันตรายในอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งหมายความรวมถึงเครื่องใช้ทุกชนิด ที่ต้องอาศัยไฟฟ้าในการทำงาน เช่น โทรทัศน์ เตาอบไมโครเวฟ วิทยุ เป็นต้น ซึ่งหมายความว่า ชิ้นส่วนทุกอย่างที่ประกอบเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้านั้น ตั้งแต่แผงวงจร อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไปจนถึงสายไฟ จะต้องผ่านตามข้อกำหนดดังกล่าว ซึ่งเริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ปี2006 แต่ในประเทศอื่นๆ เช่น สหรัฐอมริกา ญี่ปุ่น จีน เกาหลี ก็เริ่มที่จะกำหนดข้อบังคับในลักษณะนี้เช่นกัน ในอนาคต ข้อกำหนดนี้ก็คงจะแผ่ขยายครอบคลุมไปทั่วโลก โดยสารที่จำกัดปริมาณในปัจจุบัน กำหนดไว้ 6 ชนิด ดังนี้ 1.ตะกั่ว (Pb) ไม่เกิน 0.1% โดยน้ำหนัก 2.ปรอท (Hg) ไม่เกิน 0.1% โดยน้ำหนัก 3.แคดเมียม (Cd) ไม่เกิน 0.01% โดยน้ำหนัก 4.เฮกซะวาเลนท์ (Cr-VI) ไม่เกิน 0.1% โดยน้ำหนัก 5.โพลีโบรมิเนต ไบเฟนนิลส์ (PBB) ไม่เกิน 0.1% โดยน้ำหนัก 6.โพลีโบรมิเนต ไดเฟนนิล อีเธอร์ (PBDE

มาตรฐาน IP คืออะไร

รูปภาพ
มาตรฐาน IP คืออะไร IP ย่อมาจาก Ingress Protection Ratings คือ มาตรฐานการป้องกันน้ำเเละฝุ่น ค่า IP จะแสดงด้วยตัวเลข 2 หลักคือ รูปแบบการแสดงมาตรฐานจะเป็น IPXX  ซึ่ง XX เช่น IP65 IP67 IP68 เป็นต้น  ตัวเลขหลักที่ 1 หมายถึงการป้องกันจากของแข็ง ซึ่งจะมีตั้งแต่ 0-6 เเละตัวเลขหลักที่ 2 หมายถึงการป้องกันจากของเหลว ซึ่งจะมีตั้งแต่ 0-8 ตัวเลขหลักที่ 1 : การป้องกันของแข็ง ระดับ       รายละเอียด ระดับ 0        ไม่มีการป้องกันใดๆได้เลย ระดับ 1        มีการป้องกันจากของแข็งที่มีขนาดใหญ่กว่า 50มิลลิเมตรขึ้นไปเข้าในอุปกรณ์ ระดับ 2        มีการป้องกันจากของแข็งที่มีขนาดใหญ่กว่า 12 มิลลิเมตรขึ้นไปเข้าในอุปกรณ์ ระดับ 3        มีการป้องกันจากของแข็งที่มีขนาดใหญ่กว่า 2.5 มิลลิเมตรขึ้นไปเข้าในอุปกรณ์ ระดับ 4        มีการป้องกันจากของแข็งที่มีขนาดใหญ่กว่า 1 มิลลิเมตรขึ้นไปเข้าในอุปกรณ์ ระดับ 5        มีการป้องกันจากฝุ่นผงละออง สามารถมีฝุ่นเล็ดลอดเข้าไปในอุปกรณ์ได้เล็กน้อยแต่ต้องเป็นฝุ่นละอองของสารที่ไม่ทำให้เกิดอันตราย ระดับ 6       การป้องกันจากฝุ่นผงละอองของสารที่อาจทำให้เกิดการกั

UL (Underwriters Laboratories) สัญลักษณ์มาตรฐานแห่งความปลอดภัย

รูปภาพ
UL คืออะไร ? UL คือ องค์กรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาประเทศในการตรวจสอบและการรับรองในมาตรฐานความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ จัดตั้งขึ้นที่ ประเทศ สหรัฐ อเมริกา เมื่อปี คศ.1894 .โดยได้รับความไว้วางใจในฐานะผู้นำในระดับสากลในการตรวจสอบความปลอดภัยในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การทดสอบ และการรับรองผล UL ทำหน้าที่ประเมินผลิตภัณฑ์ ชิ้นส่วน อุปกรณ์ และระบบ เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบเฉพาะตามข้อกำหนด โดยใช้การตรวจสอบมาตรฐานเพื่อผลักดันการควบคุมความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ในระดับรัฐบาล สหพันธรัฐ รัฐและการริเริ่มมาตรฐานความปลอดภัยในรัฐบาลท้องถิ่น ในปัจจุบัน UL ยังให้ความช่วยเหลือแก่องค์กร บริษัทต่างๆ ในการนำผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานเข้าสู่ตลาดโลก โดยสนับสนุนการบริหารจัดการ และดูแลคุณภาพของระบบในทุกขั้นตอน การรับรองมาตรฐานในระดับสากล การรับรองมาตรฐานความปลอดภัยของ UL ประกอบด้วยการตรวจสอบ การประเมินและการตรวจสอบโรงงานในระดับประเทศ ภูมิภาค และความปลอดภัยในระดับสากล โดยการรับรองมาตรฐานนี้จะช่วยให้ความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์ได้รับความเชื่อมั่นในระดับสาธารณะ ทั้งผู้บริโภค ผู้ขายปลีก บริษัทประกันภัย ผู้จัดจำหน่า

มาตรฐาน CE (Conformite Europeene)

รูปภาพ
CE  ย่อมาจาก Conformite Europeene (ภาษาฝรั่งเศส) หรือ European Conformity (ภาษาอังกฤษ CE เป็นอักษรย่อที่เราเห็นได้ทั่วไปบนสินค้าและอุปกรณ์ของใช้มากมายหมายชนิด ที่มีคุณสมบัติถูกต้องและเป็นไปตามข้อกำหนดด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องของสหภาพยุโรป ประโยชน์ของเครื่องหมาย CE สินค้าที่มีเครื่องหมาย CE จะสามารถวางจำหน่ายและสามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีในเขตเศรษฐกิจยุโรป (สหภาพยุโรป และ สมาคมการค้าเสรียุโรป) สินค้าที่จะวางขายในกลุ่มประเทศยุโรปและจำเป็นต้องได้รับการรับรองเครื่องหมาย CE มีอยู่ 23 กลุ่ม ดังนี้ ระบบและอุปกรณ์เกี่ยวกับการจัดการจราจรทางอากาศ อุปกรณ์เครื่องใช้ที่จุดไฟโดยใช้แก๊ส ระบบการติดตั้งเคเบิลสำหรับบรรทุกผู้โดยสาร อุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับการก่อสร้าง อุปกรณ์และระบบป้องกันสำหรับการใช้ในบรรยากาศที่อาจเกิดการระเบิด วัตถุระเบิดสำหรับพลเมืองใช้ ภาชนะหุงต้มน้ำร้อน ตู้เย็นและเครื่องทำความเย็นใช้ภายในครัวเรือน ลิฟต์สำหรับขนผู้โดยสารหรือสินค้า เครื่องจักรกลทุกชนิดที่มีส่วนประกอบ

เกลียวชนิดต่างๆของเคเบิ้ลแกลน

รูปภาพ
เกลียวชนิดต่างๆของเคเบิ้ลแกลนมีความหมายและแบ่งประเภทได้ดังนี้ เกลียว  (Thread)  หมาย ถึงสันหรือร่องที่เกิดขึ้นบนผิวงานวนไปรอบ ๆจะซ้ายหรือขวาก็ได้ด้วยระยะทางที่สม่ำเสมอเกลียวแบ่งตามลักษณะหน้าตัดได้หลายแบบซึ่งแต่ละแบบก็มีลักษณะการใช้งานทั้งแบบที่เหมือนกันและแตกต่างกันไปแบ่งออกได้ดังนี้ เคเบิ้ลแกลน มีเกลียวหลักๆแบ่งได้ประมาน 3 ชนิดเกลียวด้วยกันคือ เกลียว PG   ( Germany PG Thread)  คือมาตราฐานเกลียวของทางประเทศเยอรมัน สามารถแบ่งตามขนาดเกลียวได้ดังนี้   : PG 7 , PG 9 , PG 11 , PG 13.5 , PG 16 , PG 21 , PG 29 , PG 36 , PG 42 , PG 48 , PG 63 เกลียวเมตริก   ( Metric Thread)  คือมาตราฐานเกลียวสากลหรือเรียกอีกอย่างว่าเกลียวมิล สามารถแบ่งตามขนาดเกลียวได้ดังนี้   :   M8x1.0, M10x1.0, M 12 x1.5, M 16 x1.5, M 18 x1.5, M 20 x1.5, M 22 x1.5, M 25 x1.5, M 32 x1.5, M 40 x1.5, M 50 x1.5, M 63 x1.5, M 72 x2.0, M 75 x2.0, M 80 x2.0, M 88 x2.0, M 100 x2.0, M120x2.0 เกลียว NPT   ( National Pipe Thread)  คือมาตราฐานเกลียวของอเมริกาหรือเรียกอีกอย่างว่าเกลียวนิ้ว สามารถแบ่งตามขนาดเกลียวได้ดัง

เคเบิ้ลแกลนคืออะไร

รูปภาพ
เคเบิ้ลแกลน คือ ชิ้นส่วนที่สำคัญอย่างหนึ่งเกี่ยวกับภาคไฟฟ้า เคเบิ้ลแกลนด์  ทำหน้าที่อะไรมีประโยชน์อย่างไร หน้าที่หลักของเคเบิ้ลแกลนก็คือบีบรัดสายไฟให้แน่นเพื่อป้องกันสายไฟขยับและยึดติดเข้ากับอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ตู้คอนโทรล กล่องพักสายไฟท่อร้อยสายไฟ  IMC ให้แน่นและช่วยให้เกิดความสวยงามตอนเก็บสายไฟและยังสามารถป้องกันสายไฟจากสภาพอากาศและวัตถุต่างๆ ที่จะส่งผลทำให้สายไฟเสียหาย ภาพประกอบ  เคเบิ้ลแกลน เคเบิ้ลแกลนแบ่งได้กี่ประเภทมีเกลียวอะไรและมีวัสดุอะไรบ้าง ในอุตสาหกรรมไฟฟ้านั้น มีการใช้เคเบิ้ลแกลนหลากหลายวัสดุหลากหลายคุณภาพมีอะไรบ้าง เคเบิ้ลแกลนนั้นแบ่งได้ตามประเภทหรือ Type ต่างๆดังนี้ Nickel Brass Cable Gland Series ( เคเบิ้ลแกลนทองเหลืองชุบนิคเกิ้ล , เคเบิ้ลแกลนโลหะ ) Stainless Steel Cable Gland Series ( เคเบิ้ลแกลนสแนตเลส ) EMC Cable Gland Series (เคเบิ้ลแกลนป้องกันกระแสรบกวน) Nylon Cable Gland Series ( เคเบิ้ลแกลนพลาสติก ) Marine Cable Gland Series ( เคเบิ้ลแกลนมารีน ) Explosion Proof Cable Gland Series (เคเบิ้ลแกลนกันระเบิด) Enlarger Cable Gland Se